วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 27 กันยายน 2554

ความรู้ที่ได้เรียนมาในารายวิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

-ความหมายของวิทยาศาสตร์
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-โครงการวิทยาศาสตร์
-การจัดนิทรรศการ
-กิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผนการการสอน
-หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
-การประเมินทางวิทยาศาสตร์

ครั้งที่ 14 วันที่ 20 กันยายน 2554

อาจาร์ให้ส่งแผนการสอน และแนะนำข้อบกพร่องให้นำไปแก้ไข

วัตถุประสงค์
-บอกส่วนประกอบต่างๆ
-บอกลักษณะ


ประสบการณ์สำคัญ
-ทักษะด้านสังเกต
-ทักษะด้านการวัด
-ทักษะด้านการจำแนก
-ทักษะด้านการสื่อความหมาย

สาระสำคัญ
-ชื่อเรื่อง หรือ หน่วยที่จะสอน

การจัดกิจกรรม
-ขั้นนำ
-ขั้นสอน
-ขั้นสรุป

ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

การเขียนแผนวิทยาศาสตร์

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตร
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
-บุุคคลและสถานที่
-ธรรมชาติ

ประสบการณ์สำคัญ
-ร่างกาย
-จิตใจ อารมณ์
-สังคม
-สติปัญญา
-วิทยาศาสตร์
-คณิตศาสตร์

ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กปมวัยควรรู้
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการวัด
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่าสเปสกับเวลา
-ทักษะการคำนวน

ครั้งที่ 12 วันที่ 6 กันยายน 2554

อาจารย์ให้ดูวิดิทัศน์ เรื่อง น้ำ

น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกายคนเรามีเหงื่ออกจากร่างกายก็จะทำให้พลังงานในร่างกายลดน้อยลงหรือรู้สึกอ่อนเพลียเพราะเกิดจากการเสียน้ำในร่างกายเราควรดื่มน้ำให้เยอะเพื่อเป็นการทดแทนเหงื่อที่เสียไป ในแต่ละวันเราควรดื่มน้ำวันละไม่ต่ำกว่า8 แก้ว -ร่างกายมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบ70เปอร์เซ็น
- ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90เปอร์เซ็น
-อูฐสามารถอยู่ได้โดยไม่กินน้ำนานถึง 10 วัน เพราะอูฐมีที่เก็บไขมันอยู่ด้านหลังสามารถเปลี่ยนไขมัน เป็นน้ำเลี้ยงร่างกาย

การสาธิตการจมและการลอยของวัตถุในน้ำที่แตกต่างกัน คือ เกลือ กับน้ำเปล่า
-เมื่อนำแครอท ชิ้นใส่ลงไปในน้ำเปล่าแครอทจะจมอยู่ก้นขวด
-เมื่อนำแครอท ชิ้นใส่ลงไปในน้ำเกลือแครอทจะลอยอยู่กลางแก้วน้ำ

สาเหตุเพราะว่าน้ำเกลือที่วัตถุลอยได้นั้นมีความเข้มข้นและหนาแน่นกว่าน้ำเปล่าจะสังเกตได้จากการที่เราลอยตัวในน้ำทะเลได้ดีกว่าในน้ำจืด

ครั้งที่ 11 วันที่ 30 สิงหาคม 2554

อาจารย์ให้ประดิษฐ์ของเล่นจากแกนกระดาษทิชชู่ 2คนต่อ 1 ชิ้นโดยให้ความรู้ก่อนดังนี้


แกนทิชชู่

ที่ใช้แกนทิชชู่ทำเพราะ - เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
- ผลิตจากธรรมชาติ
- เปลี่ยนแปลงได้

ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต -สภาพแวดล้อม
- ทรัพยากร
- ต้นไม้
- ขยะ

การแก้ปัญหา -ไม่ใช้เยอะ
- ปรับเปลี่ยนประยุกต์ใช้

ครั้งที่ 10 วันที่ 23 สิงหาคม 2554

ตัวอย่างกิจกรรม

ลงมือกระทำ -มือ
- ตา
- หู
- จมูก
- ลิ้น

คิดสร้างสรรค์ - คิดริเริ่ม
- คิดยืดหยุ่น
- คิดคล่องแคล่ว
- คิดละเอียดละออ

เนื้อหา -ใกล้ตัวเด็ก
- เด็กสนใจ

วิธีการ - สอดคล้องกับหน่วย
-มีความหลากหลาย

เทคนิค - ทดลอง
- ประกอบอาหาร
- โครงการ

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 8 วันที่ 7 สิงหาคม 2554

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากสอบกลางภาค

ครั้งที่ 9 วันที่ 16 สิงหาคม 2554

อาจารย์ให้ดูวิดิทัศน์ เรื่องแสง

ถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงสว่างจะทำให้เรามองไม่เห็น แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งมีความยาว สั้น เคลื่อนที่ได้เร็ว ที่มองเห็นวัตถุรอบตัวได้แสงต้องส่องมาโดนวัตถุและสะท้อนเข้าตาเราแสงมีคุณสมบัติ คือ แสงเดินทางเป็นเส้นตรงไม่เปลี่ยนทิศทาง

วัตถุในโลกมี3ชนิด คือ วัตถุโปร่งแสง วัตถุโปร่งใส วัตถุทึบแสง และที่ต้องแยกวัตถุออกเพราะ วัตถุโปร่งแสงแสงเดินทางผ่านได้บางส่วน วัตถุโปร่งใส แสงเดินทางผ่านได้ทั้งหมด วัตถุทึบแสงแสงเดินทางผ่านไม่ได้

ครั้งที่ 7 วันที่ 2 สิงหาคม 2554


เสียงวิเศษณ์
วัสดุอุปกรณ์ -กระดาษ
- สี
-หลอด
-กาว
- กรรไกร
-ปากกาเคมี
วิธีทำ -วาดรูปตามที่ต้องการ สองรูป
-ตกแต่ง ระบายสีให้สวยงามทั้งสองด้าน
- ตัด แล้วติดกาวประกบกันทั้งสองด้าน
- ใช้คัตเตอร์กรีดส่วนท้ายหางให้เป็นริ้ว
- ใช้หลอดติดตรงปาก
-ทดลองเป่า

ครั้งที่ 6 วันที่ 26 กรกฎาคม 2554

เด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-วัยที่มีการพัฒนาด้านสติปัยยาที่สุดของชีวิต
-แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้

-ความหมายและทักษะการสังเกต
-ความหมายและทักษะการจำแนกประเภท
-ความหมายและทักษะการวัด
-การสื่อความหมาย
-ทักษะจากการลงความเห็นจากข้อมูล
-การหาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่กับเวลา
-ทักษะการคำนวน

ครั้งที่ 5 วันที่ 19 กรกฎาคม2554

โครงการ ลด ละ เลิก เหล้า บุหรรี่ และสิ่งเสพติด
-ให้เห็นถึงโทษของเหล้าบุหรี่และสิ่งเสพติด
-มีผลกระทบกับเด็กอย่างไร

จุดมุ่งหวัง
1.เด็กได้ความรู้ว่าโทษของสิ่งเสพติดเป็นอย่างไร
2.เด็กได้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการจัดกิจกรรม

หลักการและเหตุผล
เนื่องจากสภาพสังคมในปัจุบันเหล้า เบียร์ บุหรี่ และสิ่งเสพติด ได้แพร่ระบาดเข้าสู่สังคมไทยอย่างรวดเร็วและง่าย โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา เช่น การทะเลาะวิวาท การลักขโมย การสูญเสียชีวิตและททรัพย์สินซึ่งส่งผลกระทบต่อบุคคลรอบข้าง ครอบครัวและสังคม ดังนั้นเราต้องช่วยกันปลูกฝังจิตสำนึกตั้งแต่เด็ก โดยเริ่มจาก สถาบันครอบครัว โรงเรียนและสังคม ให้เห็นถึงโทษของ เหล้า บุหรี่ และสิ่งเสพติด

กิจกรรม
1.แบ่งเด็กเป็นกลุ่มกลุ่มละ 5-6คน
2.ใช้คำถามกับเด็กว่า เด็กๆเคยเห็นสิ่งเหล่านี้ไหม
3.แนะนำอุปกรณืให้เด็กรู้จัก
4.สาธิตให้เด็กดูถึงโทษของบุหรี่
5.เปิดโอกาสให้เด็กถามถึงข้อสงสัย
6.ตอบข้อสงสัยของเด็ก
7.สรุปกิจกรรมให้เด็กฟัง
8.ให้เด็กวาดรูปลงบนไปรษณียบัตร เขียนชื่อที่อยู่ ส่งให้ผู้ที่เด็กอยากจะส่งถึง



ครั้งที่ 4 วันที่ 12กรกฎาคม 2554

ผมและเพื่อนๆได้นำเสนอกิจกรรม วิทยาศาสตร์ ดังนี้

-ไข่ลอยฟ้า
-แรงดันน้ำ
-ไข่ลอยน้ำเกลือ
-ขวดเป่าลูกโป่ง
-การเดินทางของแสง
-การเดินทางของเสียง

สิ่งที่ต้องทำในการทำกิจกรรม

-ตั้งสมติฐาน
-ทดลอง
-สังเกต
-บันทึกผล
-สรุปผลการทดลอง

ครั้งที่ 3 วันที่ 5 กรกฎาคม 2554

วันนี้กลุ่มผมได้นำเสนองาน กิจกรรมวิทยาศาสตร์

-พิมพ์ภาพโดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย
-เป่าสี
-พับสี
-พิมพ์ภาพโดยใช้วัสดุธรรมชาติ

อาจารย์ได้สั่งงานให้ทำโครงการรณรงค์ลดละเลิก เหล้า บุหรี่ และสิ่งเสพติด

ครั้งที่ 2 วันที่ 28 มิถุนายน 2554

วิทยาศาสตร์

ความหมาย

-เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
-พิสูจน์ได้
-อยู่รอบตัวเรา
-มีคุณสมบัติและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป

ความสำคัญ

-ใช้ในชีวิตประจำวัน
-ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
-ใช้ในการสร้างอาชีพ
-ทำให้เกิดการพัฒนา

หน่วย เรื่อง ไอน้ำ
ความรู้ - แสงอาทิตย์ส่องแสงลงไปในน้ำ
- ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดความร้อน
- ไอน้ำลอยจากต่ำไปที่สูง
-น้ำเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอ

เป็นวิทยาศาสตร์ - น้ำกลายเป็นไอที่เกิดจากความร้อนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
- พิสูจน์ได้
- คุณลักษณะของน้ำเปลี่ยนแปลงได้ตามภาชนะ
-ความร้อนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

น้ำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - สร้างหน่วยเนื้อหาสาระ
- นำเพลงมาเป็นสื่อ

วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 1 วันที่ 21 มิถุนายน 2554

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

เด็กปฐมวัย หมายถึง
-แรกเกิด 0-6 ปี
-อยากรู้อยากเห็น
-ยึดตัวเองเป็นสำคัญ
-ชอบความแปลกใหม่

วิทยาศาสตร์ หมายถึง
ทักษะ
-การทดลอง
-การสังเกต
-การตั้งสมติฐาน
-การบันทึก
-การสรุป

การจัด หมายถึง
-การออกแบบ
-การวางแผน