วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 27 กันยายน 2554

ความรู้ที่ได้เรียนมาในารายวิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

-ความหมายของวิทยาศาสตร์
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-โครงการวิทยาศาสตร์
-การจัดนิทรรศการ
-กิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผนการการสอน
-หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
-การประเมินทางวิทยาศาสตร์

ครั้งที่ 14 วันที่ 20 กันยายน 2554

อาจาร์ให้ส่งแผนการสอน และแนะนำข้อบกพร่องให้นำไปแก้ไข

วัตถุประสงค์
-บอกส่วนประกอบต่างๆ
-บอกลักษณะ


ประสบการณ์สำคัญ
-ทักษะด้านสังเกต
-ทักษะด้านการวัด
-ทักษะด้านการจำแนก
-ทักษะด้านการสื่อความหมาย

สาระสำคัญ
-ชื่อเรื่อง หรือ หน่วยที่จะสอน

การจัดกิจกรรม
-ขั้นนำ
-ขั้นสอน
-ขั้นสรุป

ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

การเขียนแผนวิทยาศาสตร์

สาระการเรียนรู้ในหลักสูตร
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
-บุุคคลและสถานที่
-ธรรมชาติ

ประสบการณ์สำคัญ
-ร่างกาย
-จิตใจ อารมณ์
-สังคม
-สติปัญญา
-วิทยาศาสตร์
-คณิตศาสตร์

ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กปมวัยควรรู้
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการวัด
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่าสเปสกับเวลา
-ทักษะการคำนวน

ครั้งที่ 12 วันที่ 6 กันยายน 2554

อาจารย์ให้ดูวิดิทัศน์ เรื่อง น้ำ

น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกายคนเรามีเหงื่ออกจากร่างกายก็จะทำให้พลังงานในร่างกายลดน้อยลงหรือรู้สึกอ่อนเพลียเพราะเกิดจากการเสียน้ำในร่างกายเราควรดื่มน้ำให้เยอะเพื่อเป็นการทดแทนเหงื่อที่เสียไป ในแต่ละวันเราควรดื่มน้ำวันละไม่ต่ำกว่า8 แก้ว -ร่างกายมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบ70เปอร์เซ็น
- ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90เปอร์เซ็น
-อูฐสามารถอยู่ได้โดยไม่กินน้ำนานถึง 10 วัน เพราะอูฐมีที่เก็บไขมันอยู่ด้านหลังสามารถเปลี่ยนไขมัน เป็นน้ำเลี้ยงร่างกาย

การสาธิตการจมและการลอยของวัตถุในน้ำที่แตกต่างกัน คือ เกลือ กับน้ำเปล่า
-เมื่อนำแครอท ชิ้นใส่ลงไปในน้ำเปล่าแครอทจะจมอยู่ก้นขวด
-เมื่อนำแครอท ชิ้นใส่ลงไปในน้ำเกลือแครอทจะลอยอยู่กลางแก้วน้ำ

สาเหตุเพราะว่าน้ำเกลือที่วัตถุลอยได้นั้นมีความเข้มข้นและหนาแน่นกว่าน้ำเปล่าจะสังเกตได้จากการที่เราลอยตัวในน้ำทะเลได้ดีกว่าในน้ำจืด

ครั้งที่ 11 วันที่ 30 สิงหาคม 2554

อาจารย์ให้ประดิษฐ์ของเล่นจากแกนกระดาษทิชชู่ 2คนต่อ 1 ชิ้นโดยให้ความรู้ก่อนดังนี้


แกนทิชชู่

ที่ใช้แกนทิชชู่ทำเพราะ - เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
- ผลิตจากธรรมชาติ
- เปลี่ยนแปลงได้

ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต -สภาพแวดล้อม
- ทรัพยากร
- ต้นไม้
- ขยะ

การแก้ปัญหา -ไม่ใช้เยอะ
- ปรับเปลี่ยนประยุกต์ใช้

ครั้งที่ 10 วันที่ 23 สิงหาคม 2554

ตัวอย่างกิจกรรม

ลงมือกระทำ -มือ
- ตา
- หู
- จมูก
- ลิ้น

คิดสร้างสรรค์ - คิดริเริ่ม
- คิดยืดหยุ่น
- คิดคล่องแคล่ว
- คิดละเอียดละออ

เนื้อหา -ใกล้ตัวเด็ก
- เด็กสนใจ

วิธีการ - สอดคล้องกับหน่วย
-มีความหลากหลาย

เทคนิค - ทดลอง
- ประกอบอาหาร
- โครงการ

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554